หลักธรรมที่สำคัญของศาสนาพุทธ
อริยสัจ 4 : หลักธรรมอันประเสริฐ |
|||
1. ธรรมที่ควรกำหนดรู้ |
ทุกข์ |
- ขันธ์ 5 |
นามรูป / โลกธรรม 8 / จิต เจตสิก |
2. ธรรมที่ควรละ |
สมุทัย |
- หลักธรรม |
นิยาม 5 / วิตก 3 / กรรม (กรรม 12 ) / มิจฉาวณิชชา นิวรณ์ 5 / ปฏิจจสมุปบาท หรือ ธรรมนิยาม อุปทาน 4 / วัฏฏะ 3 / ปปัญจธรรม 3 |
3. ธรรมที่ควรบรรลุ |
นิโรธ |
- นิพพาน |
ภาวนา 4 / วิมุตติ 5 |
4. ธรรมที่ควรเจริญ |
มรรค |
- พระสัทธรรม 3 / ปัญญาวุฒิธรรม 4 / พละ 5 / อุบาสกธรรม 5 - อปริหานิยธรรม 7 / ปาปณิกธรรม 3 / ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 - โภคอาทิยะ 5 / อริยวัฑฒิ 5 / สาราณียธรรม 6 / ทิศพิธราชธรรม 10 - วิปัสสนาญาณ 9 / มงคล 38 |
ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว : กฎแห่งกรรม |
อิทธิบาท 4 : การสร้างความสำเร็จในชีวิต |
ไตรลักษณ์ : กฎธรรมชาติ 1. อนิจจตา – ความไม่เที่ยง 2. ทุกขตา – ความเป็นทุกข์ 3. อนัตตตา – ความไม่มีตัวตน ไตรสิกขา : หลักการพัฒนาชีวิต 1. ศีล 2. สมาธิ 3. ปัญญา |
1. ฉันทะ - ความพอใจ 2. วิริยะ - ความพยายาม 3. จิตตะ – เอาใจฝักใฝ่ 4. วิมังสา – หมั่นตริตรองใช้ปัญญา
|
สังคหวัตถุ 4 : หลักการสังคมสงเคราะห์ |
พรหมวิหาร 4 : หลักการอยู่ร่วมกันในสังคม |
1. ทาน – การให้ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ อามิสทาน – การให้วัตถุสิ่งของ ธรรมทาน – การให้ธรรม วิชาความรู้ 2. ปิยวาจา – การเจรจาด้วยถ้อยคำที่อ่อนหวาน 3. อัตถจริยา – การบำเพ็ญประโยชน์ 4. สมานัตตตา – การวางตัวให้เข้ากับผู้อื่น |
1. เมตตา – ความรักใคร่ ปรารถนาให้ผู้อื่นได้รับความสุข 2. กรุณา – ความสงสารคิดช่วยให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ 3. มุทิตา – ความยินดีเมื่อผู้อื่นมีความสุข 4. อุเบกขา – การวางใจเป็นกลางเมื่อผู้อื่นเป็นสุข/ทุกข์
|
ขันธ์ 5 : องค์ประกอบของชีวิต |
สาราณียธรรม 6 : หลักสามัคคีธรรม |
ธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ 2. วิญญาณ – การรับรู้ผ่านประสาทสัมผัส 3. เวทนา – ความรู้สึกที่เกิดขึ้น 4. สัญญา – การกำหนดหมายรู้ 5. สังขาร – สิ่งที่ปรุงแต่งจิต |
1. เมตตากายกรรม – การช่วยเหลือ การแสดงกิริยา สุภาพอ่อนน้อม 2. เมตตาวจีกรรม – การช่วยอบรมสั่งสอน บอกสิ่งที่ดี 3. เมตตามโนกรรม – การตั้งจิตปรารถนาดีต่อกัน 4. สาธารณโภคี – การแบ่งปัน 5. สีลสามัญญตา – เป็นผู้มีศีลธรรม 6. ทิฏฐิสามัญญตา – มีความคิดเห็นตรงกัน |
ทิศ 6 : หลักมนุษยสัมพันธ์ (หันหน้าไปทิศตะวันออก) |
อบายมุข 6 : ทางแห่งความเสื่อม |
1. ทิศเบื้องหน้า (บุรัตถิมทิศ) – บิดา มารดา 2. ทิศเบื้องขวา (ทักษิณทิศ) – ครู อาจารย์ 3. ทิศเบื้องหลัง (ปัจฉิมทิศ) – ภรรยา สามี 4. ทิศเบื้องซ้าย (อุตดรทิศ) – มิตรสหาย 5. ทิศเบื้องบน (อุปรัมทิศ) – สมณพราหมณ์ ภิกษุ 6. ทิศเบื้องล่าง (เหฏฐิมทิศ) – ลูกจ้าง ผู้ใต้บังคับบัญชา |
1. เสพสุราของมึนเมา 2. เที่ยวกลางคืน 3. เที่ยวดูการเล่น 4. เล่นการพนัน 5. คบคนชั่วเป็นมิตร 6. เกียจคร้านการงาน |
หลักการสร้างตนเป็นคนดี |
อิทธิบาท 4 : การสร้างความสำเร็จในชีวิต |
1. มีความกตัญญูกตเวที 2. รู้จักกาลเทศะ (รู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักตน รู้จักประมาณ รู้จักกาลเวลา รู้จักสังคม รู้จักบุคคล) 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. ไม่เห็นแก่ตัว |
1. ฉันทะ - ความพอใจ 2. วิริยะ - ความพยายาม 3. จิตตะ – เอาใจฝักใฝ่ 4. วิมังสา – หมั่นตริตรองใช้ปัญญา
|
หลักธรรมในการปกครอง |
หลักธรรมในการดำรงชีวิต |
1. การให้ 2. การตั้งอยู่ในศีล 3. การบริจาค 4. ความซื่อตรง 5. ความอ่อนโยน 6. ความมีตบะ (การขจัดความมัวเมามิให้ครอบงำ) 7. ความไม่โกรธ 8. ความไม่เบียดเบียน 9. ความอดทน 10. ความตั้งมั่นในธรรม |
กับสรรเสริญ สุขกับทุกข์ 2. บุญกิริยาวัตถุ 3 - การให้ทาน การรักษาศีล การภาวนา 4. ความไม่ประมาท 5. ความเคารพ 6. การอ่อนน้อมถ่อมตน |
อธิปไตย 3 ( มาจาก อธิปเตยยะ = ความเป็นใหญ่) หมายถึง อำนาจที่มีผลต่อการตัดสินใจ 3 ประการ |
1. อัตตาธิปไตย หมายถึง การเอาความเห็นของตนเป็นใหญ่ 2. โลกาธิปไตย หมายถึง การเอาความเห็นของคนส่วนมากเป็นใหญ่ 3. ธรรมาธิปไตย หมายถึง การเอาความเห็นที่มีเหตุผลถูกต้องเป็นใหญ่ |
หลักธรรมในการปกครอง |
หลักธรรมในการดำรงชีวิต |
1. การให้ 2. การตั้งอยู่ในศีล 3. การบริจาค 4. ความซื่อตรง 5. ความอ่อนโยน 6. ความมีตบะ (การขจัดความมัวเมามิให้ครอบงำ) 7. ความไม่โกรธ 8. ความไม่เบียดเบียน 9. ความอดทน 10. ความตั้งมั่นในธรรม |
กับสรรเสริญ สุขกับทุกข์ 2. บุญกิริยาวัตถุ 3 - การให้ทาน การรักษาศีล การภาวนา 4. ความไม่ประมาท 5. ความเคารพ 6. การอ่อนน้อมถ่อมตน |
หลักธรรมในการปกครอง |
หลักธรรมในการดำรงชีวิต |
1. การให้ 2. การตั้งอยู่ในศีล 3. การบริจาค 4. ความซื่อตรง 5. ความอ่อนโยน 6. ความมีตบะ (การขจัดความมัวเมามิให้ครอบงำ) 7. ความไม่โกรธ 8. ความไม่เบียดเบียน 9. ความอดทน 10. ความตั้งมั่นในธรรม |
กับสรรเสริญ สุขกับทุกข์ 2. บุญกิริยาวัตถุ 3 - การให้ทาน การรักษาศีล การภาวนา 4. ความไม่ประมาท 5. ความเคารพ 6. การอ่อนน้อมถ่อมตน |